Tag:

sick newborn

Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

PDA พบได้บ่อยในทารกแรกเกิดโดยเฉพาะทารกเกิดก่อนกำหนด และมีกลุ่มอาการหายใจลำบากรุนแรง ( severe respiratory distress syndrome ) พบบ่อยขึ้นในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม ( extremely low birth weight ) ซึ่งมีอัตราการเกิด PDA สูงถึงร้อยละ 70

อายุของทารกแรกเกิดในระยะปริกำเนิด

นิยามคำศัพท์ ทารกแรกเกิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกเกิดก่อนกำหนดจะมีอายุที่จะต้องประเมินและเกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลที่หลากหลาย  การให้คำนิยามของแต่ละอายุของทารกแรกเกิดอย่างชัดเจนและตรงกันในระหว่างสถาบันมีความสำคัญเพื่อนำไปใช้ในการประเมินพัฒนาการด้านระบบประสาท ( neurodevelopment ) เป็นแนวทางการรักษาพยาบาลในบางด้าน ตลอดจนเพื่อให้การติดตามและรายงานผลลัพธ์ด้านสุขภาพของทารกแรกเกิดมีความน่าเชื่อถือ

พยาบาลกับการเฝ้าระวัง

ภาวะติดเชื้อในระยะแรกในทารกแรกเกิด

พยาบาลกับการเฝ้าระวัง ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด (neonatal sepsis )เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่เกิดจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตของทารกแรกเกิด ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการตายและความพิการที่สำคัญในประเทศไทย ภาวะติดเชื้อในระยะแรก ( early sepsis ) เป็นภาวะที่การติดเชื้อนั้นเกิดขึ้นระหว่าง 72 ชั่วโมงหรือสัปดาห์แรกหลังเกิด ( Makhoul,et al,2002, Behrman, Kleigman&Jenson, 2003 ) ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเนื่องจากทารกได้รับเชื้อโรคจากร่างกายของมารดาซึ่งอาจเข้าสู่ร่างกายทารกได้ 4 ทางคือ1)เชื้อจากช่องคลอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อที่สายสะดือและเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดของสายสะดือ 2)ทารกหายใจหรือกลืนเอาน้ำคร่ำที่มีเชื้อโรคปนอยู่

Breast feeding

Best Practices for Breastfeeding in the Preterm infants

ไฟล์นำเสนอเรื่อง Best Practices for  Breastfeeding in the Preterm infants โดย ผศ.พัชรี วรกิจพูนผล ในการประชุม “Best practice in Pediatric” วันที่ 16-18 กพ.2554 ณ โรงแรมอโมราท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยสถานบริการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์

ประสบการณ์การเปิด NICU โรงพยาบาลสันทราย

ประสบการณ์การสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยทารกภาวะเสี่ยงของ โรงพยาบาลนครพิงค์ และโรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สถานการณ์การเจ็บป่วยของทารกที่มีอายุน้อยกว่า 28 วัน ในจังหวัดเชียงใหม่ปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้น ในปีงบประมาณ 2548 ที่ผ่านมาโรงพยาบาลนครพิงค์รับผู้ป่วยมีทารกเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤติ จำนวน 288 คน ในจำนวนนี้ ร้อยละ 53.60 เป็นผู้ป่วยทารกที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลชุมชน และ ร้อยละ 3.60 ส่งต่อมาจากจังหวัดแม่ฮ่องสอน การดูแลผู้ป่วยทารกดังกล่าว มีเพียงโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่

การลดการสูญเสียน้ำและความร้อนทางผิวหนังในทารกเกิดก่อนกำหนด

การควบคุมอุณหภูมิกายให้เป็นปกติมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด  เนื่องจากทารกเกิดก่อนกำหนดมีความสามารถในการปรับตัวให้มีอุณหภูมิกายคงที่จำกัด  หากไม่สามารถควบคุมให้ทารกมีอุณหภูมิกายปกติจะทำให้ทารกเสี่ยงที่เสียชีวิต ความเจ็บป่วยที่เป็นอยู่รุนแรง มากขึ้น  หรือทำให้อัตราการเกิดโรค (morbidity)  ในทารกเพิ่มขึ้น

อาการชักในทารกแรกเกิด (Neonatal seizure)

อาการชัก เป็นอาการที่มีความสำคัญมากอย่างหนึ่ง และพบได้บ่อยในทารกแรกเกิด โดยเฉพาะทารกในหออภิบาลทารกแรกเกิด โดยพบได้ร้อยละ 25 ของทารกที่รับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด  ซึ่งร้อยละ 85 เกิดขึ้นภายในอายุ  15 วัน  และร้อยละ 65  เกิดขึ้นระหว่างอายุ 2 – 5 วัน  (พิมลรัตน์  ไทยธรรมยานนท์, 2545)   อาการชักเป็นสิ่งแสดงสิ่งแรกที่พบบ่อยเมื่อสมองเริ่มทำงานผิดปกติ  หากปล่อยให้ทารกแรกเกิดชักอย่างรุนแรง  ชักติดต่อกันเป็นเวลานาน

Esophageal atresia (EA) and tracheoesophageal fistula (TEF)

ในขณะที่ยังเป็นตัวอ่อน เนื้อเยื่อของหลอดลมและหลอดอาหารเป็นท่อรวมท่อเดียวกัน ต่อมาจึงมีการเจริญแยกจากกันโดยหลอดอาหารอยู่ด้านหลังส่วนหลอดลมอยู่ด้านหน้า หากมีการเจริญผิดปกติท่อทั้งสองนี้ อาจแยกจากกันไม่สมบูรณ์ Esophageal atresia (EA) หมายถึง หลอดอาหารตัน เกิดจากหลอดอาหารช่วงบนและช่วงล่างไม่เจริญเชื่อมติดกันเป็นช่องได้ตลอดแนว Tracheoesophageal fistule [T-E fistula ] หมายถึง การมีรูติดต่อระหว่างหลอดลมและหลอดอาหาร อาจพบร่วมกับ esophageal atresia