Tag:

Preterm Infants

การเตรียมมารดาที่คลอดทารกก่อนกำหนดในประเทศไทย

Maternal Preparation of Mother with Preterm Infants in Thailand: Literature review บทความวิชาการเกี่ยวกับการเตรียมมารดาที่คลอดทารกก่อนกำหนดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมในระยะ 10 ปี ว่ามีใครทำอะไรที่ไหนบ้าง โดยบทความนี้ได้รับการตีพิมพ์ในพยาบาลสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ เดือนเมษายน-มิถุนายน 2552 หน้า 123-134

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ โดย รศ. พัชรี วรกิจพูนผล

ไฟล์ presentation ของการประชุมวิชาการ ดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดแบบมืออาชีพ ณ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Late preterm infant

ทารกเกิดก่อนกำหนดคือทารกที่เกิดก่อนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์  ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า 72 % ของทารกเกิดก่อนกำหนดเป็นทารกที่มีอายุครรภ์ระหว่าง 34 ถึง 36 +6  สัปดาห์  ( Hamilton, Martin, & Ventura, 2007 )  ซึ่งหมายถึง 1 ใน 11 ของทารกเกิดมีชีพเป็นทารกกลุ่มนี้ ทารกที่มีอายุครรภ์ต่ำกว่า

ประสบการณ์การเปิด NICU โรงพยาบาลสันทราย

ประสบการณ์การสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยทารกภาวะเสี่ยงของ โรงพยาบาลนครพิงค์ และโรงพยาบาลสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สถานการณ์การเจ็บป่วยของทารกที่มีอายุน้อยกว่า 28 วัน ในจังหวัดเชียงใหม่ปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้น ในปีงบประมาณ 2548 ที่ผ่านมาโรงพยาบาลนครพิงค์รับผู้ป่วยมีทารกเข้ารับการรักษาในหน่วยวิกฤติ จำนวน 288 คน ในจำนวนนี้ ร้อยละ 53.60 เป็นผู้ป่วยทารกที่ส่งต่อมาจากโรงพยาบาลชุมชน และ ร้อยละ 3.60 ส่งต่อมาจากจังหวัดแม่ฮ่องสอน การดูแลผู้ป่วยทารกดังกล่าว มีเพียงโรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่

การลดการสูญเสียน้ำและความร้อนทางผิวหนังในทารกเกิดก่อนกำหนด

การควบคุมอุณหภูมิกายให้เป็นปกติมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนด  เนื่องจากทารกเกิดก่อนกำหนดมีความสามารถในการปรับตัวให้มีอุณหภูมิกายคงที่จำกัด  หากไม่สามารถควบคุมให้ทารกมีอุณหภูมิกายปกติจะทำให้ทารกเสี่ยงที่เสียชีวิต ความเจ็บป่วยที่เป็นอยู่รุนแรง มากขึ้น  หรือทำให้อัตราการเกิดโรค (morbidity)  ในทารกเพิ่มขึ้น

อาการชักในทารกแรกเกิด (Neonatal seizure)

อาการชัก เป็นอาการที่มีความสำคัญมากอย่างหนึ่ง และพบได้บ่อยในทารกแรกเกิด โดยเฉพาะทารกในหออภิบาลทารกแรกเกิด โดยพบได้ร้อยละ 25 ของทารกที่รับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด  ซึ่งร้อยละ 85 เกิดขึ้นภายในอายุ  15 วัน  และร้อยละ 65  เกิดขึ้นระหว่างอายุ 2 – 5 วัน  (พิมลรัตน์  ไทยธรรมยานนท์, 2545)   อาการชักเป็นสิ่งแสดงสิ่งแรกที่พบบ่อยเมื่อสมองเริ่มทำงานผิดปกติ  หากปล่อยให้ทารกแรกเกิดชักอย่างรุนแรง  ชักติดต่อกันเป็นเวลานาน

การเจริญเติบโต พัฒนาการและการสร้างเสริมสุขภาพทารกแรกเกิด

การดูแลทารกแรกเกิดที่ไม่เจ็บป่วย เช่น ทารกที่รอกลับบ้านพร้อมแม่หลังคลอด เพื่อไม่ให้ทารกเจ็บป่วย  ไม่อยู่โรงพยาบาลนาน  ไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายของการรักษาจากการเกิดโรคแทรกซ้อน  จากความบกพร่องของการดูแลนั้น ต้องใช้หลักการสร้างเสริมสุขภาพ โดยหลักการดูแลต้องมุ่งที่การป้องกันการเจ็บป่วย  โดยปฏิบัติตามหลักการดูแลทารกแรกเกิดอย่างครบถ้วนและเคร่งครัด  ซึ่งพยาบาลที่ดูแลทารกจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะและสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด  เพราะช่วงนี้เป็นช่วงสำคัญของชีวิต  เนื่องจากเป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามาก  จากการที่ทารกพึ่งพามารดาขณะอยู่ในครรภ์มาเป็นพึ่งพาตัวเองนอกครรภ์มารดา  ทำให้อัตราการเจ็บป่วยและอัตราการตายของทารกในระยะนี้สูงกว่าเด็กวัยอื่นๆ