Tag:

newborn

Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

PDA พบได้บ่อยในทารกแรกเกิดโดยเฉพาะทารกเกิดก่อนกำหนด และมีกลุ่มอาการหายใจลำบากรุนแรง ( severe respiratory distress syndrome ) พบบ่อยขึ้นในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม ( extremely low birth weight ) ซึ่งมีอัตราการเกิด PDA สูงถึงร้อยละ 70

อายุของทารกแรกเกิดในระยะปริกำเนิด

นิยามคำศัพท์ ทารกแรกเกิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกเกิดก่อนกำหนดจะมีอายุที่จะต้องประเมินและเกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลที่หลากหลาย  การให้คำนิยามของแต่ละอายุของทารกแรกเกิดอย่างชัดเจนและตรงกันในระหว่างสถาบันมีความสำคัญเพื่อนำไปใช้ในการประเมินพัฒนาการด้านระบบประสาท ( neurodevelopment ) เป็นแนวทางการรักษาพยาบาลในบางด้าน ตลอดจนเพื่อให้การติดตามและรายงานผลลัพธ์ด้านสุขภาพของทารกแรกเกิดมีความน่าเชื่อถือ

พยาบาลกับการเฝ้าระวัง

ภาวะติดเชื้อในระยะแรกในทารกแรกเกิด

พยาบาลกับการเฝ้าระวัง ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด (neonatal sepsis )เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่เกิดจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตของทารกแรกเกิด ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการตายและความพิการที่สำคัญในประเทศไทย ภาวะติดเชื้อในระยะแรก ( early sepsis ) เป็นภาวะที่การติดเชื้อนั้นเกิดขึ้นระหว่าง 72 ชั่วโมงหรือสัปดาห์แรกหลังเกิด ( Makhoul,et al,2002, Behrman, Kleigman&Jenson, 2003 ) ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเนื่องจากทารกได้รับเชื้อโรคจากร่างกายของมารดาซึ่งอาจเข้าสู่ร่างกายทารกได้ 4 ทางคือ1)เชื้อจากช่องคลอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อที่สายสะดือและเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดของสายสะดือ 2)ทารกหายใจหรือกลืนเอาน้ำคร่ำที่มีเชื้อโรคปนอยู่

Best practice in skin care for pediatric patients

Best practice in skin care for pediatric patients

ไฟล์นำเสนอเรื่อง “Best practice in skin care for pediatric patients” ในการประชุมวิชาการเรื่อง Best practice in pediatric จัดโดยสถานบริการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2554

ความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการของมารดาทารกที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด

ขอนำเสนอบทความวิจัยที่เผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสาธารณสุขเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ โดย รศ. พัชรี วรกิจพูนผล

ไฟล์ presentation ของการประชุมวิชาการ ดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดแบบมืออาชีพ ณ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Late preterm infant

ทารกเกิดก่อนกำหนดคือทารกที่เกิดก่อนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์  ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า 72 % ของทารกเกิดก่อนกำหนดเป็นทารกที่มีอายุครรภ์ระหว่าง 34 ถึง 36 +6  สัปดาห์  ( Hamilton, Martin, & Ventura, 2007 )  ซึ่งหมายถึง 1 ใน 11 ของทารกเกิดมีชีพเป็นทารกกลุ่มนี้ ทารกที่มีอายุครรภ์ต่ำกว่า