Category:

sick newborn

crescent moon and cloud wind chimes

เชิญชวนดาวน์โหลด งานวิจัยฉบับเต็ม หัวข้อ Maternal participation on preterm infants care reduces the cost of delivery of preterm neonatal healthcare services

Thailand, with an annual incidence rate of 12% ranks high in incidence of preterm birth. Preterm infants require specialized care which can be lengthy and costly both in terms of psychological and emotional stress and healthcare services. The rapid rise of cost of healthcare services is a major concern for Thai government and public.

Continue reading ➝
Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

Patent Ductus Arteriosus ในทารกแรกเกิด

PDA พบได้บ่อยในทารกแรกเกิดโดยเฉพาะทารกเกิดก่อนกำหนด และมีกลุ่มอาการหายใจลำบากรุนแรง ( severe respiratory distress syndrome ) พบบ่อยขึ้นในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม ( extremely low birth weight ) ซึ่งมีอัตราการเกิด PDA สูงถึงร้อยละ 70

Continue reading ➝

อายุของทารกแรกเกิดในระยะปริกำเนิด

นิยามคำศัพท์ ทารกแรกเกิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกเกิดก่อนกำหนดจะมีอายุที่จะต้องประเมินและเกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลที่หลากหลาย  การให้คำนิยามของแต่ละอายุของทารกแรกเกิดอย่างชัดเจนและตรงกันในระหว่างสถาบันมีความสำคัญเพื่อนำไปใช้ในการประเมินพัฒนาการด้านระบบประสาท ( neurodevelopment ) เป็นแนวทางการรักษาพยาบาลในบางด้าน ตลอดจนเพื่อให้การติดตามและรายงานผลลัพธ์ด้านสุขภาพของทารกแรกเกิดมีความน่าเชื่อถือ

Continue reading ➝
พยาบาลกับการเฝ้าระวัง

ภาวะติดเชื้อในระยะแรกในทารกแรกเกิด

พยาบาลกับการเฝ้าระวัง ภาวะติดเชื้อในทารกแรกเกิด (neonatal sepsis )เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่เกิดจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตของทารกแรกเกิด ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการตายและความพิการที่สำคัญในประเทศไทย ภาวะติดเชื้อในระยะแรก ( early sepsis ) เป็นภาวะที่การติดเชื้อนั้นเกิดขึ้นระหว่าง 72 ชั่วโมงหรือสัปดาห์แรกหลังเกิด ( Makhoul,et al,2002, Behrman, Kleigman&Jenson, 2003 ) ส่วนใหญ่เกิดขึ้นเนื่องจากทารกได้รับเชื้อโรคจากร่างกายของมารดาซึ่งอาจเข้าสู่ร่างกายทารกได้ 4 ทางคือ1)เชื้อจากช่องคลอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อที่สายสะดือและเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดของสายสะดือ 2)ทารกหายใจหรือกลืนเอาน้ำคร่ำที่มีเชื้อโรคปนอยู่ 3)เชื้อโรคติดอยู่กับผิวหนังหรือเยื่อบุต่างๆ ของทารกขณะผ่านช่องคลอดของมารดา 4) ทารกได้รับเชื้อจากมารดาที่มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตในระยะก่อนคลอดผ่านทางรก เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของภาวะติดเชื้อในระยะแรกที่พบบ่อยคือแบคทีเรียกลุ่มกรัมบวก ได้แก่ group B streptococci (GBS) ,enterococci, S.pneumoniae, S.aureus และแบคทีเรียกลุ่มกรัมลบได้แก่ E.coli, K. pneumonia

Continue reading ➝

การเตรียมมารดาที่คลอดทารกก่อนกำหนดในประเทศไทย

Maternal Preparation of Mother with Preterm Infants in Thailand: Literature review บทความวิชาการเกี่ยวกับการเตรียมมารดาที่คลอดทารกก่อนกำหนดที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมในระยะ 10 ปี ว่ามีใครทำอะไรที่ไหนบ้าง โดยบทความนี้ได้รับการตีพิมพ์ในพยาบาลสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ เดือนเมษายน-มิถุนายน 2552 หน้า 123-134

Continue reading ➝

Clinical presentation in infant with patent ductus arteriosus, Physiologic consideration and complication

อาการทางคลินิกที่ใช้วินิจฉัยการเกิด PDA ได้แก่ การตรวจพบอาการ 3 ใน 5 อย่าง ต่อไปนี้ systolic murmur at upper left sterna border (ULSB) hyperactive precordium bounding pulses (full pulse) wide pulse pressure increased need for respiratory support and increased arterial carbon dioxide levels สาหรับการวินิจฉัยที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งมีความไวและความแม่นยาสูง คือ Echocardiogram แต่ในทางปฏิบัติยังเป็นปัญหาเนื่องจากขาดเครื่องมือนี้ใน NICU จึงต้องอาศัยอาการทางคลินิกช่วยในการประเมินพยาธิสรีรวิทยา

Continue reading ➝

ความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการของมารดาทารกที่เข้ารับการรักษาในหออภิบาลทารกแรกเกิด

ขอนำเสนอบทความวิจัยที่เผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสาธารณสุขเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

Continue reading ➝

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ โดย รศ. พัชรี วรกิจพูนผล

ไฟล์ presentation ของการประชุมวิชาการ ดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดแบบมืออาชีพ ณ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Continue reading ➝

การทำกายภาพบำบัดทรวงอกในทารกและเด็ก

Chest physiotherapy ประกอบด้วย การจัดท่าเพื่อระบายเสมหะ (postural drainage), การเคาะทรวงอก (percussion), การสั่นทรวงอก (vibration) และการกำจัดเสมหะ (secretion removal) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการคั่งค้างและช่วยขับเสมหะออกจากหลอดลม เพื่อฟื้นฟูสภาพและประสิทธิภาพการทำงานของปอดในการแลกเปลี่ยนก๊าซในการหายใจ

Continue reading ➝